|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
13,0379,001,เวทนาย่อมครอบงำร่างกายอีกเหมือนสาหร่ายที่ขาดเพราะไม้หรือกระเบื้องตกลง
|
|
13,0379,002,ไปกลับคลุมน้ำตามเดิม. อนึ่ง สมาบัติของผู้กระทำหมวด ๗ แห่งรูปและหมวด
|
|
13,0379,003,๗ แห่งอรูปให้หมดพุ่มหมดรกแล้วเข้าด้วยอำนาจแห่งมหาวิปัสสนา ชื่อว่าย่อม
|
|
13,0379,004,ข่มได้ด้วยดี. เปรียบเหมือนสาหร่ายที่บุรุษลงน้ำแล้วเอามือและเท้าแหวกให้ดี
|
|
13,0379,005,ต่อเวลานานจึงจะคลุมน้ำ ฉันใด ผู้ที่ออกจากผลสมาบัตินั้น ต่อเวลานาน
|
|
13,0379,006,เวทนาจึงจะเกิดขึ้น ฉันนั้น. ดังนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงเป็นเสมือนทรงตั้ง
|
|
13,0379,007,วิปัสสนาใหม่เอี่ยม ณ พระมหาโพธิบัลลังก์ในวันนั้น ทรงจ่อมลงด้วยอาการ
|
|
13,0379,008,๑๔ กระทำหมวด ๗ แห่งรูป หมวด ๗ แห่งอรูป ไม่ให้เป็นพุ่ม ไม่ให้รก
|
|
13,0379,009,แล้วทรงไม่เสวยเวทนา ด้วยมหาวิปัสสนา เข้าสมาบัติด้วยทรงประสงค์ว่า
|
|
13,0379,010,ขอเวทนาอย่าเกิดตลอด ๑๐ เดือน. เวทนาที่ทรงข่มด้วยสมาบัติ จึงไม่เกิด
|
|
13,0379,011,ตลอดเวลา ๑๐ เดือนเลย. เวทนาที่ทรงข่มด้วยสมาบัติ จึงไม่เกิดตลอดเวลา.
|
|
13,0379,012,บทว่า <B>คิลานา วุฏฺิโต</B> ได้แก่ประชวรแล้วหายอีก. บทว่า <B>มธุรก
|
|
13,0379,013,ชาโตวิย</B> ได้แก่เหมือนุบุรุษนอนหงายบนหลาว ที่เกิดภาวะเกร็งหนักและแข็ง.
|
|
13,0379,014,บทว่า <B>น ปกฺขายนฺติ</B> ได้แก่ไม่แจ้ง คือไม่ปรากฏโดยวาจาต่าง ๆ. ด้วย
|
|
13,0379,015,บทว่า <B>ธมฺมาปิ นํ นปฺปฏิภนฺติ</B> ท่านแสดงว่าแม้ธรรม คือ สติปัฏฐานไม่
|
|
13,0379,016,ปรากฏแก่เรา. แต่ธรรมคือพระบาลี พระเถระคล่องแคล่วดีแล้ว. บทว่า
|
|
13,0379,017,<B>อุทาหรติ</B> ได้แก่ไม่ประทานปัจฉิมโอวาท. ท่านพระอานนท์หมายเอาปัจฉิม
|
|
13,0379,018,โอวาทนั้น.
|
|
13,0379,019,บทว่า <B>อนนฺตรํ อพาหรํ</B> ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงดำริว่า
|
|
13,0379,020,เราไม่กระทำ ๒ อย่าง โดยธรรมหรือบุคคล แล้วจักแสดงธรรมเท่านี้แก่บุคคล
|
|
13,0379,021,อื่นก็หาไม่ ชื่อว่าทรงกระทำธรรมให้เป็นภายใน. ทรงพระดำริว่าเราจักแสดง
|
|
13,0379,022,ธรรมเท่านี้แก่บุคคลอื่น ชื่อว่าทรงกระทำธรรมภายนอก. อนึ่ง ทรงพระดำริ
|
|
13,0379,023,ว่าเราจักแสดงแก่บุคคลนี้ ชื่อว่าทรงกระทำบุคคลภายใน. เมื่อทรงพระดำริว่า
|
|
|