|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
13,0216,001,นามรูป จึงยังเกิด แต่ ตาย จุติหรืออุบัติ ชาติเป็นต้น หรือจุติปฏิสนธิอื่นๆ
|
|
13,0216,002,พึงปรากฏ.
|
|
13,0216,003,บทว่า <B>อธิวจนปโถ</B> (ทางแห่งชื่อ) ความว่า ทางแห่งโวหาร ซึ่งไม่
|
|
13,0216,004,เห็นความของคำเป็นต้นว่า <B>สิริวัฑฒกะ ธนวัฑฒกะ</B> ตั้งขึ้นไว้เพียงเรียก
|
|
13,0216,005,ชื่อเท่านั้น. บทว่า <B>นิรุตฺติปโถ</B> (ทางแห่งนิรุติ) ความว่า เป็นทางแห่ง
|
|
13,0216,006,โวหารซึ่งเป็นไปด้วยสามารถการอ้างเหตุแห่งคำเป็นต้นว่า ผู้มีสติเพราะระลึกได้
|
|
13,0216,007,ผู้มีสัมปชัญญะเพราะรู้ตัว. บทว่า <B>ปญฺตฺติปโถ</B> (ทางแห่งบัญญัติ) ความว่า
|
|
13,0216,008,ทางแห่งโวหารซึ่งเป็นไปด้วยสามารถแห่งการให้รู้โดยประการต่าง ๆ ของคำเป็น
|
|
13,0216,009,อาทิว่า ผู้รู้ ผู้ฉลาด ผู้มีปัญญา ผู้ชำนาญ ผู้คัดค้าน แม้ขันธ์ทั้งหลาย
|
|
13,0216,010,อันเป็นวัตถุแห่งชื่อเป็นต้น ท่านก็กล่าวด้วยบททั้ง ๓ ด้วยประการฉะนี้. บทว่า
|
|
13,0216,011,<B>ปญฺาวจรํ</B> (การคาดคะเนด้วยปัญญา) ความว่า พึงคาดคะเนคือพึงรู้. บทว่า
|
|
13,0216,012,ปัญญา. บทว่า <B>วฏฺฏํ วฏฺฏติ</B> คือ <B>สังสารวัฏ</B> ย่อมเป็นไป. บทว่า <B>อิตฺถตฺตํ</B>
|
|
13,0216,013,คือความเป็นอย่างนี้ คำนี้เป็นชื่อของขันธบัญจก (หมวด ๕ แห่งขันธ์). บทว่า
|
|
13,0216,014,<B>ปญฺาปนาย</B> คือเพื่อบัญญัติ ชื่อ อธิบายว่า แม้ขันธปัญจกก็ย่อมปรากฏ
|
|
13,0216,015,ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ เพื่อต้องการบัญญัตินาม ด้วยบทว่า <B>เวทนา สญฺา</B>
|
|
13,0216,016,เป็นต้น. บทว่า <B>ยทิทํ นามรูปํ สหวิญฺาเณน</B> ความว่า นี้คือนามรูปกับ
|
|
13,0216,017,วิญญาณย่อมเป็นไป เพราะเป็นปัจจัยของกันและกัน ท่านอธิบายว่าด้วยเหตุ
|
|
13,0216,018,เพียงเท่านี้ดังนี้ นี้เป็นคำที่ถูกนำออกไปในบทนี้.
|
|
13,0216,019,ด้วยประการดังนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงแสดงอนุสนธิแห่งบทว่า
|
|
13,0216,020,ดูก่อนอานนท์ ก็ปฏิจจสมุปบาทนี้เป็นของลึกซึ้ง และปรากฏเป็นของลึกซึ้ง ดังนี้
|
|
13,0216,021,แล้ว บัดนี้เมื่อจะทรงแสดงอนุสนธิแห่งบทว่า <B>ตนฺตากุลกชาตา</B> (ยุ่งดุจด้าย
|
|
13,0216,022,ของช่างหูก) ดังนี้ ทรงปรารภเทศนามีอาทิว่า <B>กิตฺตาวตา จ</B> (ด้วยเหตุมี
|
|
13,0216,023,ประมาณเท่าใด) ดังนี้ ในบทเหล่านั้น ในบทว่า <B>รูปึ วา หิ อานนฺท ปริตฺตํ</B>
|
|
|