|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
39,0350,001,เพราะภวสังโยชน์ยังไม่สิ้น. อีกอย่างหนึ่ง บรรดากำเนิด ๔ เหล่า สัตว์ที่เป็น
|
|
39,0350,002,อัณฑชะเกิดในไข่และชลาพุชะเกิดในครรภ์ ยังไม่ทำลายเปลือกฟองไข่และรก
|
|
39,0350,003,ออกมาตราบใด ตราบนั้น ก็ชื่อว่า <B>สัมภเวสี.</B> ที่ทำลายเปลือกฟองไข่ และ
|
|
39,0350,004,รกแล้วออกมาข้างนอก ชื่อว่า <B>ภูต.</B> เหล่าสัตว์ที่เป็นสังเสทชะ และ โอปปาติกะ
|
|
39,0350,005,ชื่อว่า <B>สัมภเวสี</B> ในขณะปฐมจิต ตั้งแต่ขณะทุติยจิตไปชื่อว่า <B>ภตะ.</B> หรือสตว์
|
|
39,0350,006,ทั้งหลายเกิดโดยอิริยาบถใด ยังไม่เปลี่ยนอิริยาบถเป็นอื่นไปจากอิริยาบถนั้น
|
|
39,0350,007,ตราบใด ตราบนั้น ยิ่งชื่อว่า <B>สัมภเวสี</B> นอกจากนั้น ไปชื่อว่า <B>ภูตะ.</B>
|
|
39,0350,008,<H2>พรรณนาคาถาที่ ๖</H2>
|
|
39,0350,009,พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงแสดงเมตตาภาวนาในสัตว์ทั้งหลาย โดย
|
|
39,0350,010,ปรารถนาแต่จะให้เข้าถึงประโยชน์สุขของภิกษุเหล่านั้น โดยประการต่าง ๆ ด้วย
|
|
39,0350,011,๒ คาถาครึ่งว่า <B>สุขิโน วา</B> เป็นต้น อย่างนี้แล้ว บัดนี้ เมือทรงแสดง
|
|
39,0350,012,ภาวนานั้น แม้โดยปรารถนาให้ออกไปจากสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์และทุกข์จึง
|
|
39,0350,013,ตรัสว่า <B>น ปโร ปรํ นิกุพฺเพถ.</B> นี้เป็นปาฐะเก่า แต่ปัจจุบันสวดกันว่า
|
|
39,0350,014,<B>ปรํ ป</B>ิ ดังนี้ก็มี ปาฐะนี้ไม่งาม.
|
|
39,0350,015,บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า <B>ปโร</B> ได้แก่ ชนอื่น. บทว่า <B>น
|
|
39,0350,016,กุพฺเพถ</B> ได้แก่ ไม่หลอกลวง. บทว่า <B>นาติมญฺเถ</B> ได้แก่ ไม่สำคัญเกิน
|
|
39,0350,017,ไป [ไม่ดูหมิ่น]. บทว่า <B>กตฺถจิ</B> ได้แก่ในโอกาสไหน ๆ คือในหมู่บ้านหรือ
|
|
39,0350,018,ในเขตหมู่บ้าน ท่านกลางญาติหรือท่ามกลางบุคคล ดังนี้เป็นต้น. บทว่า <B>นํ</B>
|
|
39,0350,019,แปลว่า นั่น. บทว่า <B>กิญฺจิ</B> ได้แก่ผู้ใดผู้หนึ่ง คือกษัตริย์หรือพราหมณ์
|
|
39,0350,020,คฤหัสถ์หรือบรรพชิต ที่ถึงสุข หรือที่ถึงทุกข์ ดังนี้เป็นต้น. บทว่า <B>พฺยา-
|
|
39,0350,021,โรสนา ปฏีฆสญฺา</B> ได้แก่ เพราะความกริ้วโกรธด้วยกายวิการและวจีวิการ
|
|
39,0350,022,และเพราะคุมแค้นด้วยมโนวิการ. เพราะเมื่อควรจะตรัสว่า <B>พฺยาโรสนาย
|
|
39,0350,023,ปฏีฑสญฺาย</B> แต่ก็ตรัสเสียว่า <B> พฺยาโรสนา ปฏีฆสญฺา</B> เหมือนเมื่อ
|
|
|