|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
39,0340,001,๔ พึงเป็นผู้อาจปฏิบัติเพื่อแทงตลอดสัจจะ กรณียกิจที่ควรทำไร ๆ นั้นใด
|
|
39,0340,002,ไม่ว่าสูงต่ำของสพรหมจารี ในการบริกรรมกสิณสมาทานวัตรเป็นต้น และใน
|
|
39,0340,003,การซ่อมแซมบาตรจีวรเป็นต้นของตน ก็พึงอาจ พึงขยัน ไม่เกียจคร้านสามารถ
|
|
39,0340,004,ใน รณียกิจ เหล่านั้น และในกิจเช่นนั้น อย่างอื่นก็เหมือนกัน. แม้เมื่อเป็น
|
|
39,0340,005,ผู้อาจ ก็พึงเป็นผู้ตรงด้วยการประกอบด้วยปธานิยังคะข้อที่ ๓. แม้เมื่อเป็นผู้
|
|
39,0340,006,ตรงก็พึงเป็นผู้ตรงด้วยดี ด้วยเป็นผู้ตรงคราวเดียว หรือด้วยเป็นผู้ตรงในเวลา
|
|
39,0340,007,ยังหนุ่ม ด้วยไม่ถึงสันโดษแต่ทำไม่ย่อหย่อนบ่อยๆ จนตลอดชีวิต. หรือว่า
|
|
39,0340,008,ชื่อว่า <B>ตรง</B> (อุชุ) เพราะทำด้วยความไม่อวดดี ชื่อว่า <B>ตรงดี </B> (สุหุชู) เพราะ
|
|
39,0340,009,ไม่มีมายา. หรือว่า ชื่อว่า <B>ตรง</B> เพราะละความคิดทางกายและวาจา ชื่อว่า
|
|
39,0340,010,<B>ตรงดี</B> เพราะละความคดทางใจ. หรือชื่อว่า <B>ตรง</B> เพราะไม่อวดคุณที่ไม่มี
|
|
39,0340,011,จริง ชื่อว่า <B>ตรงดี</B> เพราะไม่อดกลั้นต่อลาภที่เกิดเพราะคุณที่ไม่มีจริง. พึง
|
|
39,0340,012,ชื่อว่าเป็นผู้ตรงและตรงดี ด้วยอารัมมณูปนิชฌานและลักขณูปนิชฌาน ด้วย
|
|
39,0340,013,สิกขาข้อ ๒ - ๓ ข้างต้น และด้วยปโยคสุทธิและอาสยสุทธิ ด้วยประการฉะนี้.
|
|
39,0340,014,ภิกษุมิใช่พึงเป็นผู้ตรงและตรงดีอย่างเดียวดอก ที่แท้พึงเป็นผู้ว่าง่าย
|
|
39,0340,015,อีกด้วย. ก็บุคคลใดถูกท่านว่ากล่าวว่า ท่านไม่ควรทำข้อนี้ ก็พูดว่าท่านเห็น
|
|
39,0340,016,อะไรท่านได้ยินอย่างไร ท่านเป็นอะไรกับเราจึงพูด เป็นอุปัชฌาย์ อาจารย์ เพื่อน
|
|
39,0340,017,เห็นเพื่อนคบหรือ หรือเบียดเบียนผู้นั้นด้วยความนิ่งเสีย หรือยอมรับแล้วไม่ทำ
|
|
39,0340,018,อย่างนั้น ผู้นั้น ชื่อว่ายังอยู่ไกลการบรรลุคุณวิเศษ. ส่วนผู้ใดถูกท่านโอวาท
|
|
39,0340,019,ก็กล่าวว่า ดีละ ท่านขอรับ ท่านพูดดี. ขึ้นชื่อว่าโทษของตนเป็นของเห็นได้ยาก
|
|
39,0340,020,ท่านเห็นกระผมเป็นอย่างนี้ โปรดอาศัยความเอ็นดูว่ากล่าวอีกเถิด กระผมไม่
|
|
39,0340,021,ได้รับ โอวาทจากสำนักท่านเสียนาน และปฏิบัติตามที่ท่านสอน ผู้นั้น ชื่อว่า
|
|
39,0340,022,อยู่ไม่ไกลการบรรลุคุณวิเศษ เพราะฉะนั้น บุคคลรับคำของผู้อื่นแล้วกระทำ
|
|
39,0340,023,อย่างนี้. พึงชื่อว่าเป็นผู้ว่าง่าย.
|
|
|