|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
39,0186,001,นั้น คฤหัสถ์ศึกษาดีแล้วในวินัยนั้น ชื่อว่าเป็นมงคล เพราะนำมาซึ่งประโยชน์
|
|
39,0186,002,สุขในโลกทั้งสอง ด้วยการไม่ต้องสังกิเลสความเศร้าหมอง และด้วยการกำหนด
|
|
39,0186,003,คุณ คืออาจาระ.
|
|
39,0186,004,การไม่ต้องอาบัติ ๗ กอง ชื่อว่า<B>วินัยของบรรพชิต.</B> แม้วินัยของ
|
|
39,0186,005,บรรพชิตนั้น อันบรรพชิตศึกษาดีแล้ว โดยนัยที่กล่าวมาแล้ว. หรือปาริสุทธิ.
|
|
39,0186,006,ศีล ๔ ชื่อว่าวินัยของบรรพชิต. วินัยของบรรพชิตนั้น อันบรรพชิตศึกษาดี
|
|
39,0186,007,แล้ว ด้วยการศึกษาโดยประการที่ตั้งอยู่ในปาริสุทธิศีล ๔ นั้น แล้วจะบรรลุ
|
|
39,0186,008,พระอรหัตได้ พึงทราบว่าเป็นมงคลเพราะเป็นเหตุประสบสุขทั้งโลกิยะทั้ง
|
|
39,0186,009,โลกุตระ.
|
|
39,0186,010,วาจาที่เว้นจากโทษมีมุสาวาทเป็นต้น ชื่อว่า<B>วาจาสุภาษิต</B> เหมือนอย่าง
|
|
39,0186,011,ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย วาจาประกอบด้วยองค์ ๔
|
|
39,0186,012,เป็นวาจาสุภาษิต. หรือว่า วาจาที่เจรจาไม่เพ้อเจ้อ ก็ชื่อว่าวาจาสุภาษิต. เหมือน
|
|
39,0186,013,อย่างที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า<SUP>๑</SUP>
|
|
39,0186,014,<B>สุภาสิตํ อุตฺตมมาหุ สนฺโต
|
|
39,0186,015,ธมฺมํ ภเณ นาธมฺมํ ตํ ทุติยํ
|
|
39,0186,016,ปิยํ ภเณ นาปฺปิยํ ลํ ตติยํ
|
|
39,0186,017,สจฺจํ ภเณ นาลิกํ จตุตถํ.
|
|
39,0186,018,สัตบุรุษทั้งหลายกล่าวว่า วาจาสุภาษิตเป็นวาจา
|
|
39,0186,019,สูงสุดเป็นข้อที่ ๑. บุคคลพึงกล่าวแต่ธรรม ไม่กล่าวไม่
|
|
39,0186,020,เป็นธรรมเป็นข้อที่ ๒. พึงกล่าวแต่คำนี้น่ารัก ไม่กล่าว
|
|
39,0186,021,คำไม่น่ารัก เป็นข้อที่ ๓. กล่าวแต่คำสัตย์ ไม่กล่าว
|
|
39,0186,022,คำเหลาะแหละเป็นข้อที่ ๔.</B>
|
|
|