tripitaka-mbu / 13 /130558.csv
uisp's picture
add data
3c90236
Book,Page,LineNumber,Text
13,0558,001,อำนาจสิกขา อย่างนี้ ในสิกขา ๓ ประการ อธิสีลสิกขา รวมเข้ากับปฐมโอ-
13,0558,002,กาสาธิคมะ อธิจิตตสิกขา รวมเข้ากับ ทุติยโอกาสาธิคมะ อธิปัญญาสิกขา
13,0558,003,รวมเข้ากับตติยโอกาสาธิคมะ. แม้ในสามัญญผล ท่านกล่าวแม้ด้วยสามารถ
13,0558,004,แห่งสามัญญผลสูตร อย่างนี้ว่า ตั้งแต่จุลศีล จนถึงปฐมฌาน เป็น
13,0558,005,โอกาสาธิคมที่ ๑ ตั้งแต่ทุติยฌานจนถึงเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นโอกาสา-
13,0558,006,ธิคมะที่ ๒ ตั้งแต่วิปัสสนาจนถึงอรหัตต์ เป็นโอกาสาธิคมะที่ ๓ ส่วนในปิฎก
13,0558,007,๓ ประการ พึงกล่าว แม้ด้วยสามารถปิฎกอย่างนี้ว่า วินัยปิฎก บวกเข้ากับ
13,0558,008,ปฐมโอกาสาธิคมะ สุตตันตปิฎก บวกเข้ากับทุติยโอกาสาธิคมะ อภิธรรมปิฎก
13,0558,009,บวกเข้ากับตติยโอกาสาธิคมะ.
13,0558,010,ได้ยินว่า พระมหาเถระในกาลก่อน ย่อมตั้งพระสูตรนี้เท่านั้นในวัน
13,0558,011,วัสสูปนายิกา. เพราะเหตุไร. เพราะพวกเราจักจำแนกปิฎก ๓ กล่าว. เพราะ
13,0558,012,เมื่อรวมพระไตรปิฎกกล่าว พระสูตรก็กล่าวได้ยาก เพราะฉะนั้น ใคร ๆ ก็ไม่
13,0558,013,อาจ กล่าวได้. สูตรนี้ที่จำแนกไตรปิฎกกล่าว ก็จะกล่าวได้ง่าย.
13,0558,014,บทว่า <B>กุสลสฺสาธิคมาย</B> ความว่า เพื่อประโยชน์บรรลุมรรคกุศลและ
13,0558,015,ผลกุศล. จริงอยู่ ทั้งสองอย่างนั่น ชื่อว่า เป็นกุศล ด้วยอรรถว่า ไม่มีโทษ
13,0558,016,หรือด้วยอรรถว่า เกษม. บทว่า <B>ตตฺถ สมฺมา สมาธิยติ</B> ความว่า ภิกษุตั้ง
13,0558,017,มั่นชอบ ในกายภายในนั้น ก็จะเป็นเอกัคคตาจิต. บทว่า <B>พหิทฺธา ปรกาเย
13,0558,018,าณทสฺสนํ อภินิพฺพตฺเตติ</B> ความว่า ส่งญาณอันมุ่งต่อกายคนอื่น จาก
13,0558,019,กายตน. ในบททั้งปวงก็มีนัยนี้. พึงทราบสติที่กำหนดกายเป็นต้น ด้วยบทว่า
13,0558,020,<B>สติมา</B> ในบททั้งปวง. พึงทราบกายเป็นต้นเทียว กำหนดแล้วด้วยบทว่า <B>โลเก.</B>
13,0558,021,ก็สติปัฏฐานทั้ง ๔ นั่น พึงทราบว่า ท่านกล่าวเจือด้วยโลกกิยะ และโลกุตตระ.
13,0558,022,บริขาร ในบทนี้ว่า สมาธิปริกขารา มี ๓ อย่าง. เครื่องประดับใน
13,0558,023,บทนี้ว่า รถมีสีขาวเป็นบริขาร มีฌานเป็นเพลา มีวิริยะเป็นล้อ ชื่อว่า บริขาร.