|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
13,0437,001,นัยนี้. ท่านหมายเอาความข้อนี้จึงกล่าวว่า <B>สมฺมา วิหเรยฺยํ.</B> บทว่า <B>อสุญฺโ
|
|
13,0437,002,โลโก อรหนฺเตหิ อสฺส</B> ความว่า พึงไม่ว่างเว้นเหมือนป่าไม้อ้อ ป่าไม้แขม.
|
|
13,0437,003,บทว่า <B>เอกูนตึส วยสา</B> ได้แก่ ทรงมีพระชนมายุ ๒๙ พรรษาโดย
|
|
13,0437,004,วัย. คำว่า <B>ยํ</B> ในคำว่า <B>ยํ ปริพฺพชฺชึ</B> นี้ เป็นเพียงนิบาต. บทว่า <B>กึ กุสลา-
|
|
13,0437,005,นุเอสี</B> ได้แก่ ทรงเสาะแสวงว่าอะไรเป็นกุศลท่านประสงค์สัพพัญญุตญาณ ว่า
|
|
13,0437,006,กุศลคืออะไร ในคำว่า <B>กึ กุสลานุเอสี</B> นั้น อธิบายว่า ทรงแสวงหาสัพพัญ-
|
|
13,0437,007,ตญาณนั้น. ด้วยบทว่า <B>ยโต อหึ</B> ทรงแสดงว่า จำเดิมแต่กาลใด แต่ระหว่าง
|
|
13,0437,008,นี้เราบวชมาเกิน ๕๐ พรรษา. บทว่า <B>ายสฺส ธมฺมสฺส</B> ได้แก่ ธรรมคือ
|
|
13,0437,009,อริยมรรค. บทว่า <B>ปเทสวตฺติ</B> เป็นไปในประเทศคือ แม้ในทางแห่งวิปัสสนา.
|
|
13,0437,010,บทว่า <B>อิโต พหิทฺธา</B> ภายนอกศาสนาของเรา. บทว่า <B>สมโณปิ นตฺถิ</B> แม้
|
|
13,0437,011,สมณะผู้บำเพ็ญวิปัสสนา ผู้อยู่ในทางแห่งวิปัสสนาไม่มี ท่านอธิบายว่า สมณะ
|
|
13,0437,012,ที่ ๑ แม้ที่เป็นโสดาบันไม่มี.
|
|
13,0437,013,บทว่า <B>เย เอตฺถ</B> ความว่า เธอเหล่าใดอันพระศาสดาอภิเษกโดยอัน
|
|
13,0437,014,เตวาสิกาภิเสก เฉพาะพระพักตร์ในพระศาสนานี้ เป็นลาภของเธอเหล่านั้น เธอ
|
|
13,0437,015,เหล่านั้นได้ดีแล้ว. ได้ยินว่า ในลัทธิภายนอก อาจารย์พูดกับอันเตวาสิกผู้ใดว่า
|
|
13,0437,016,จงบรรพชาผู้นี้ จงโอวาทสั่งสอนผู้นี้ อันเตวาสิกผู้นั้นย่อมเป็นอันอาจารย์ตั้ง
|
|
13,0437,017,ไว้ในฐานะของตน เพราะฉะนั้น ข้อเหล่านี้ว่า จงบวชผู้นี้ จงโอวาทสั่งสอน
|
|
13,0437,018,ผู้นี้ เป็นลาภของอันเตวาสิกผู้นั้น. สุภัททปริพาชกถือลัทธิภายนอกนั้นนั่น
|
|
13,0437,019,แหละ จึงกล่าวแม้กะพระเถระอย่างนี้.
|
|
13,0437,020,บทว่า <B>อลตฺถ โข</B> แปลว่า ได้แล้วอย่างไร. ได้ยินว่า พระเถระ
|
|
13,0437,021,นำสุภัททะนั้นไปในที่แห่งหนึ่งเอาน้ำจากคณโฑรดศีรษะบอกตจปัญจกกัมมัฏ-
|
|
13,0437,022,ฐาน ปลงผมและหนวด ให้ครองผ้ากาสายะแล้วให้สรณะแล้วนำไปยังสำนัก
|
|
13,0437,023,พระผู้มีพระภาคเจ้า. พระผู้มีพระภาคเจ้า ให้อุปสมบทแล้ว ตรัสบอกกัมมัฏ-
|
|
|