|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
13,0404,001,<B>อนถินนฺทิตพฺพํ</B> คืออันผู้ร่าเริงยินดีให้สาธุการควรฟังก่อนหามิได้. จริงอยู่เมื่อ
|
|
13,0404,002,กระทำอยู่อย่างนี้ แม้ภายหลังถูกต่อว่า ว่าข้อนี้ไม่เหมาะสม ก็โต้ตอบได้ว่า
|
|
13,0404,003,เมื่อก่อนข้อนี้เป็นธรรมเดี๋ยวนี้ไม่เป็นธรรมหรือ ชื่อว่าไม่สละลัทธิ. บทว่า
|
|
13,0404,004,<B>น ปฏิกฺโกสิตพฺพํ</B> ความว่า ไม่พึงกล่าวก่อนอย่างนี้ว่า คนพาลผู้นี้พูดอะไร.
|
|
13,0404,005,ก็เมื่อถูกต่อว่า จักไม่พูดแม้แต่คำที่ควรจะพูด. ด้วยเหตุนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้า
|
|
13,0404,006,จึงตรัสว่า <B>อนภินนฺทิตฺวา อปฏิกฺโกสิตฺวา.</B> บทว่า <B>ปทพฺยญฺชนานิ</B> ได้แก่
|
|
13,0404,007,พยัญชนะกล่าวคือบท. บทว่า <B>สาธุกํ อุคฺคเหตฺวา</B> ได้แก่ ถือเอาด้วยดีว่า
|
|
13,0404,008,ท่านกล่าวบาลีไว้ในที่นี้ กล่าวความไว้ในที่นี้ กล่าวเบื้องต้นและเบื้องปลายไว้
|
|
13,0404,009,ในที่นี้. บทว่า <B>สุตฺเต โอตาเรตพฺพานิ</B> ได้แก่พึงสอบสวนในพระสูตร.
|
|
13,0404,010,บทว่า <B>วินเย สนฺทสฺเสตพฺพาน</B>ิ ได้แก่เทียบเคียงในพระวินัย.
|
|
13,0404,011,ก็ในที่นี้ ที่ชื่อว่าสูตรได้แก่วินัย. เหมือนที่ท่านกล่าวไว้ว่า ห้ามไว้
|
|
13,0404,012,ในที่ไหน ห้ามไว้ในเมืองสาวัตถี ห้ามไว้ในสุตตวิภังค์ (สุต ในที่นี้หมายถึง
|
|
13,0404,013,วินัย) ที่ชื่อวินัย ได้แก่ขันธกะ เหมือนอย่างที่ท่านกล่าวไว้ว่า <B>โกสมฺพิยํ
|
|
13,0404,014,วินยาติสาเร</B> ในเรื่องละเมิดพระวินัย (วินัย ในที่นี้หมายถึงขันธกะ) ในเมือง
|
|
13,0404,015,โกสัมพี. เมื่อเป็นเช่นนี้ชื่อว่าไม่ยึดถือวินัยปิฎก. ชื่อว่ายึดถือพระวินัยอย่าง
|
|
13,0404,016,นี้คือ อุภโตวิภังค์ชื่อว่าสุตร ขันธกปริวาร ชื่อว่าวินัย. อีกนัยหนึ่ง ยึดถือปิฎก
|
|
13,0404,017,ทั้ง ๒ อย่างนี้คือ สุตตันตปิฎก ชื่อว่าพระสูตร วินัยปิฎก ชื่อว่า วินัย. อีก
|
|
13,0404,018,อย่างหนึ่ง ก่อนอื่น ไม่ยึดถือปิฎกทั้ง ๓ แม้อย่างนี้ สุตตันตปิฎก อภิธัมมปิฎก
|
|
13,0404,019,ชื่อว่า สูตร วินัยปิฎก ชื่อว่า วินัย. ธรรมดาพุทธพจน์ไร ๆ ที่ชื่อว่าไม่ใช่สูตร
|
|
13,0404,020,ก็มีอยู่ คือ ชาดก ปฏิสัมภิทา นิทเทส สุตตนิบาต ธรรมบท อุทาน อิติวุตตกะ
|
|
13,0404,021,วิมานวัตถุ เปตวัตถุ เถรคาถา เถรีคาถา อปทาน.
|
|
13,0404,022,ก็พระสุทินนเถระ คัดค้านคำนี้ทั้งหมดว่า พระพุทธวจนะ ชื่อว่าไม่ใช่
|
|
13,0404,023,สูตรมีอยู่หรือดังนี้แล้วกล่าวว่า ปิฎก ๓ ชื่อว่าสูตร ส่วนวินัยชื่อว่าเหตุ. แต่นั้น
|
|
|