tripitaka-mbu / 13 /130375.csv
uisp's picture
add data
3c90236
Book,Page,LineNumber,Text
13,0375,001,บทว่า <B>ธมฺมาทาสํ</B> ได้แก่ แว่น คือธรรม. บทว่า <B>เยน</B> ได้แก่ผู้ประ-
13,0375,002,กอบด้วยแว่นธรรมอื่นใด. บทว่า <B>ขีณาปายทุคฺคติวินิปาโต</B> นี้ ท่านกล่าว
13,0375,003,โดยไวพจน์ของนรกเป็นต้นเท่านั้น. จริงอยู่ นรกเป็นต้น ชื่อว่าอบาย เพราะ
13,0375,004,ปราศจากอยะ คือความเจริญ ชื่อว่า ทุคติ เพราะเป็นที่ดำเนินไป เป็นที่พึ่ง
13,0375,005,อาศัยแห่งทุกข์ ชื่อว่า วินิบาต เพราะเป็นที่ตกไปโดยไม่เหลือของเหล่าชนผู้ทำ
13,0375,006,ชั่ว. บทว่า <B>อเวจฺจปฺปสาเทน</B> ได้แก่ ด้วยความเสื่อมใสอันไม่หวั่นไม่ไหว
13,0375,007,เพราะรู้ถึงพระพุทธคุณตามเป็นจริงนั่นแล. แม้ในสองบทข้างต้นก็นัยนี้เหมือน
13,0375,008,กัน. ส่วนความพิสดารของคำว่า <B>อิติปิ โส ภควา</B> เป็นต้น กล่าวไว้แล้วใน
13,0375,009,คัมภีร์วิสุทธิมรรค. บทว่า <B>อริยกนฺเตหิ</B> ได้แก่เป็นที่ใคร่ เป็นที่รัก เป็นที่
13,0375,010,ชอบใจ ของพระอริยะทั้งหลาย. ศีลห้า ชื่อว่า เป็นที่ใคร่ ของพระอริยะทั้งหลาย
13,0375,011,เพราะท่านไม่ละแม้ในภพอื่น. ท่านหมายถึงศีลห้านั้นจึงกล่าวคำนี้ไว้. แต่ใน
13,0375,012,ที่นี้ได้แก่สังวรทั้งหมด. คำว่า <B>โสตาปนฺโนหมสฺสิ</B> นี้ เป็นหัวข้อเทศนา
13,0375,013,เท่านั้น. แต่แม้พระสกทาคามีเป็นต้น ย่อมพยากรณ์โดยนัยมีอาทิว่า <B>สกทาคา
13,0375,014,มีหมสฺมิ</B> เราเป็นสกทาคามีดังนี้แล. การพยากรณ์แห่งพระอริยสาวกทั้งปวงใน
13,0375,015,ฐานะที่ควรโดยไม่ผิดสิกขาบท (วินัย) เป็นอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาต
13,0375,016,แล้วแล.
13,0375,017,พึงทราบวินิจฉัยในคำว่า <B>เวสาลิยํ วิหรติ</B> นี้ ดังต่อไปนี้. พึงทราบ
13,0375,018,ความที่เมืองเวสาลีเป็นนครสมบูรณ์. โดยนัยที่กล่าวแล้วขันธกวินัยว่า
13,0375,019,<B>เตน โข ปน สมเยน เวสาลี อิทฺธาเจว โหติ ผีตา จ</B> ดังนี้. บทว่า
13,0375,020,<B>อมฺพปาลิวเน</B> ได้แก่ ในป่ามะม่วงอันเป็นสวนของนางอัมพปาลีคณิกา. บทว่า
13,0375,021,<B>สโต ภิกฺขเว</B> ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเริ่มสติปัฏฐานเทศนาในที่นี้
13,0375,022,โดยพิเศษเพื่อให้สติปรากฏในการทรงทอดทัศนาอัมพปาลีวัน. ในบทเหล่านั้น
13,0375,023,ชื่อว่า <B>สโต</B> เพราะระลึกได้ ชื่อว่า <B>สมฺปชาโน</B> เพราะรู้ตัว อธิบายว่า