tripitaka-mbu / 13 /130366.csv
uisp's picture
add data
3c90236
Book,Page,LineNumber,Text
13,0366,001,<B>ตกฺกรสฺส</B> ได้แก่ ผู้กระทำอย่างนั้น. บทว่า <B>สพฺพทุกฺขกฺขยาย</B> ได้แก่ เพื่อ
13,0366,002,ความสิ้นทุกข์ในวัฏฏะทั้งปวง. บทว่า <B>ทิฏฺ€ิสามญฺคตา</B> ความว่า จักเป็น
13,0366,003,ผู้เข้าถึงความเป็นผู้มีทิฏฐิเสมอกันอยู่. บทว่า <B>วุฑฺฒิเยว</B> ความว่า ภิกษุผู้อยู่
13,0366,004,อย่างนี้ พึงหวังความเจริญถ่ายเดียว ไม่เสื่อมเลย.
13,0366,005,บทว่า <B>เอตเทว พหุลํ</B> ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อทรงโอวาท
13,0366,006,ภิกษุทั้งหลายจึงทรงทำธรรมีกถาอย่างนี้นี่แหละบ่อย ๆ เพราะใกล้ปรินิพพาน.
13,0366,007,บทว่า <B>อิติ สีลํ</B> แปลว่า ศีลอย่างนี้ ศีลเท่านี้. ในข้อนั้น พึงทราบว่า
13,0366,008,จตุปาริสุทธิศีล ชื่อว่าศีล. จิตเตกัคคตา ชื่อว่าสมาธิ. วิปัสสนา ชื่อว่าปัญญา.
13,0366,009,พึงทราบวินิจฉัยในคำว่า <B>สีลปริภาวิโต</B> ดังนี้ ภิกษุทั้งหลายทั้งอยู่ในศีลอันใด
13,0366,010,ย่อมบังเกิดสมาธิที่สัมปยุตด้วยมรรค สมาธิที่สัมปยุตด้วยผลสมาธินั้น อันศีล
13,0366,011,นั้นอบรมแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก. ภิกษุทั้งหลายตั้งอยู่ในสมาธิใด
13,0366,012,ย่อมบังเกิดปัญญาที่สัมปยุตด้วยมรรค ปัญญาที่สัมปยุตด้วยผลปัญญานั้น อัน
13,0366,013,สมาธินั้นอบรมแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก. ภิกษุทั้งหลายตั้งอยู่ใน
13,0366,014,ปัญญาอันใด ย่อมบังเกิดมรรคจิต. ผลจิต จิตนั้นอันปัญญานั้นอบรมแล้ว
13,0366,015,ย่อมหลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลายโดยชอบทีเดียว. บทว่า <B>ยถาภิรนฺตํ</B> ความว่า
13,0366,016,ชื่อว่า ความไม่ยินดียิ่ง ความหวาดสะดุ้งของพระพุทธเจ้าเป็นต้น ไม่มี. แต่
13,0366,017,ท่านอธิบายว่า ตามความชอบใจ ตามอัธยาศัย. บทว่า <B>อายาม</B> แปลว่า
13,0366,018,มาไปกันเถิด ปาฐะว่า <B>อยาม</B> ก็มี. อธิบายว่า ไปกันเถิด. พระผู้มีพระภาคเจ้า
13,0366,019,ตรัสเรียกพระอานนท์ผู้ติดตามไปใกล้ ๆ ว่า อานนท์. ฝ่ายพระเถระบอกภิกษุ
13,0366,020,ทั้งหลายว่า ผู้มีอายุ จงเตรียมถือบาตร จีวร พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระ-
13,0366,021,ประสงค์จะเสด็จไปที่โน้น . เรื่องการเสด็จมาอัมพลัฏฐิกาวัน ง่ายทั้งนั้น. คำว่า
13,0366,022,<B>อถ โข อายสฺมา สารีปุตฺโต</B> ครั้งนั้นแล ท่านพระสารีบุตร ดังนี้เป็นต้น
13,0366,023,ท่านกล่าวไว้พิสดารแล้วในสัมปสาทนียสูตร.