|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
13,0120,001,บทว่า <B>พฺรหฺมุชุคตฺโต</B> ความว่า พระมหาบุรุษมีพระวรกายตรงเหมือน
|
|
13,0120,002,กายพรหม คือจักมีพระวรกายสูงตรงขึ้นไปทีเดียว. ความจริงโดยมากสัตว์ทั้ง
|
|
13,0120,003,หลายย่อมน้อมไปในที่ทั้งสามคือที่คอที่สะเอวที่เข่าทั้งสอง. สัตว์เหล่านั้นเมื่อ
|
|
13,0120,004,น้อมไปที่สะเอวย่อมไปข้างหลัง. ในที่ทั้งสองพวกนั้นย่อมน้อมไปข้างหน้า. ก็
|
|
13,0120,005,สัตว์บางพวกมีร่างกายสูง มีข้างคดบางพวกแหงนหน้าเที่ยวไปเหมือนจะนับ
|
|
13,0120,006,ดวงดาว. บางพวกมีเนื้อและเลือดน้อยเป็นเช่นคนเป็นโรคเสียดท้อง. บางพวก
|
|
13,0120,007,ง้อมไปข้างหน้าเดินตัวสั่น. อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า ก็พระมหาบุรุษนี้ทรง
|
|
13,0120,008,ดำเนินพระวรกายตรงทีเดียวมีประมาณเท่าส่วนสูง จักเป็นดุจเสาทองที่ยกขึ้น
|
|
13,0120,009,ในเทพนคร. อนึ่ง พึงทราบว่าข้อนี้ท่านกล่าวหมายถึงข้อที่มหาปุริสลักษณะของ
|
|
13,0120,010,พระมหาบุรุษ ซึ่งพอประสูติยังไม่บริบูรณ์ด้วยประการทั้งปวงจะเจริญในโอกาส
|
|
13,0120,011,ต่อไป.
|
|
13,0120,012,บทว่า <B>สตฺตุสฺสโท</B> ความว่า พระมหาบุรุษมีพระมังสะฟูบริบูรณ์ด้วย
|
|
13,0120,013,ดีในที่ ๗ สถาน คือ หลังพระหัตถ์ทั้งสอง หลังพระบาททั้งสอง จะงอยพระ
|
|
13,0120,014,อังสาทั้งสอง และพระศอ เพราะฉะนั้น พระมหาบุรุษจึงชื่อว่ามีพระมังสะเต็ม
|
|
13,0120,015,ในที่ ๗ สถาน. แต่ของคนเหล่าอื่นที่หลังมือและหลังเท้าเป็นต้น ปรากฏเส้น
|
|
13,0120,016,เลือดเป็นตาข่ายที่จะงอยบ่าและคอปรากฏปลายกระดูก. มนุษย์เหล่านั้นย่อม
|
|
13,0120,017,ปรากฏเหมือนเปรต. พระมหาบุรุษไม่ปรากฏเหมือนอย่างนั้น. ก็พระมหาบุรุษ
|
|
13,0120,018,มีพระศอเช่นกับกลองทองคำที่เขากลึงด้วยหลังพระหัตถ์เป็นต้น มีเส้นเลือด
|
|
13,0120,019,เป็นตาข่ายซ่อนไว้เพราะมีพระมังสาฟูบริบูรณ์ในที่ ๗ สถาน ย่อมปรากฏเหมือน
|
|
13,0120,020,รูปศิลาและรูปปั้น.
|
|
13,0120,021,บทว่า <B>สีหปุพฺพฑฺฒกาโย</B> ความว่า พระมหาบุรุษมีกึ่งกายท่อนบน
|
|
13,0120,022,เหมือนกึ่งกายท่อนหน้าของราชสีห์ เพราะฉะนั้น พระมหาบุรุษจึงชื่อว่ามีส่วน
|
|
13,0120,023,พระวรกายเบื้องหน้าเหมือนกึ่งกายเบื้องหน้าแห่งราชสีห์ เพราะว่ากายเบื้องหน้า
|
|
|